วันเสาร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2558

แบบทดสอบเรื่องโครงงานวิทยาศาสตร์

แบบทดสอบเรื่องโครงงานวิทยาศาสตร์
1. โครงงานวิทยาศาสตร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ก. 1.                                                   ข. 2   
ค. 3                                                    ง. 4
2. การศึกษาวิธีการเพาะถั่วงอกจัดเป็นโครงงานประเภทใด
ก. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์                  ข. โครงงานประเภททดลอง
ค. โครงงานประเภทสำรวจ                         ง. โครงงานประเภททฤษฎี
3. ขั้นตอนในการทำโครงงานมีกี่ขั้นตอน
          ก.  4 ขั้นตอน                                         ข.  5 ขั้นตอน
          ค.  6  ขั้นตอน                                        ง.  7 ขั้นตอน
4. หัวข้อของโครงงาน หัวข้อใดสำคัญที่สุด
          ก.  ชื่อโครงงาน                                      ข.  ชื่อผู้ทำโครงงาน
          ค.  ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน                           ง.  ชื่อวัสดุอุปกรณ์โครงงาน
5. ประโยชน์ของโครงงานวิทยาศาสตร์คือข้อใด
          . ช่วยพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และความเป็นผู้มีวิจารณญาณ
. ช่วยพัฒนานักเรียนให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง
. ช่วยพัฒนานักเรียนให้เป็นคนที่คิดเป็น ทำเป็น และมีความสามารถในการแก้ปัญหา
ง. ถูกทุกข้อ

6. การทำโครงงานเหมาะสำหรับการศึกษาระดับใด
          ก. ระดับประถมศึกษา                     ข. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
          ค. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น             ง. ทุกระดับการศึกษา
7. ข้อใดมิใช่แหล่งศึกษาค้นคว้าวิชาโครงงาน          
ก. สำนักงานข่าวกรองแห่งชาติ            ข. ห้องสมุดและสถานประกอบการ                            ค. เอกสาร วารสาร สิ่งตีพิมพ์          ง. ผู้มีความรู้ ความชำนาญ หรือมีประสบการณ์
8. ใครเป็นผู้เขียนโครงงาน          
ก. นักเรียน                                  ข. ครูที่ปรึกษา        
 ค. ครูประจำชั้น                           ง. วิทยากรที่เชิญมาให้ความรู้
9. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง "การศึกษาการ ตัดใบข้าวโพดที่มีผลกระทบต่อการเจริญ เติบโตและผลผลิต" จัดเป็นโครงงาน ประเภทใด
ก.  สำรวจ                                   ข.   ทดลอง
ค.  สร้างทฤษฎี                                       ง.   สิ่งประดิษฐ์
10. วิธีการใดที่สามารถนำมาใช้ในการป้องกัน แก้ไขผลกระทบอันเนื่องมาจากวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ก.  ศึกษาหาความรู้ในเรื่องนั้น ๆ อย่างเข้าใจและนำไปใช้ให้ก่อเกิดประโยชน์อย่างแท้จริง เช่น เรื่องสารเคมี สารกัมมันตรังสี เป็นต้น
ข.  ศึกษาทดลองมากขึ้น
ค.   รักษาสภาวะแวดล้อมให้อยู่ในสมดุล
ง.   ศึกษาและสังเกตปรากฏการณ์ต่าง ๆ รอบตัว


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น